Sunday, June 1, 2008

VIVA LA VIDA

-Wonderful Town (2007, อาทิตย์ อัสสรัตน์, A+)
ชอบบรรยากาศเงียบเหงาและการหยุดนิ่งของเมืองนี้ที่สุด

-Juno (2007, Jason Reitman, A-/B+)
หนังสนุกแต่ไม่ชอบ(งง)

-The Chronicle of Narnia: Prince Caspian (2008, Andrew Adamson, A-)

-Indiana Jones and The Kingdom of Crystal Skull (2008, Steven Spielberg, A)
สนุกตามแบบอินเดียน่าโจนส์

เทศกาลละครสั้นหน้ากากเปลือย

-เรื่องนี้ยาว 3 ปี (2008, สายฟ้า ตันธนา, A-/B+)
สนุกแต่ไม่ค่อยอินเท่าไหร่

-ห้องสยองต้องสยิว (2008, วัฒนชัย ตรีเดชา, A-)
มีประเด็นมันๆแฝงอยู่เป็นระยะๆ

-Alt Ctrl Del (2008, นินาท บุญโพธิ์ทอง, A)
ตัวละครดูตบตีกันตลอดเวลา

-กล่องช็อคโกแลต (2008, จตุรชัย ศรีจันทร์วันเพ็ญ, A+)
ชอบตัวละครหญิงมาก เธอนั่งเฉยๆก็ยังมีพลัง


-17 พฤษภา My Valentine (2008, สวนีย์ อุทุมมา, A+++)
นักแสดงเยี่ยม บททันสถานการณ์ปัจจุบัน

-ผ่าผิวน้ำ (Breaking the Surface) (2008, ดำเกิง ฐิตะปิยะศักดิ์, A++)
ทีมนักแสดงดี ทำให้ละครสนุกมากๆ

-The Mind Game (2008, ปัณณทัต โพธิเวชกุล, A+/A)
มีปัญหากับช่วงแรกๆ แต่ช่วงหลังสนุกมาก


Viva la Vida - Coldplay

Monday, April 14, 2008

วันธรรมดา

วันนี้ตื่นมาด้วยอาการเพลียๆจากการตะลุยเล่นน้ำสงกรานต์เมื่อวาน ด้วยเสียงโทรศัพท์ของเพื่อนที่โทรมาชวนเล่นน้ำอีก
"วันนี้จะไม่ไปเล่นที่เก่าอีกเดี๋ยวจะโดนเหยียบตายซะเปล่าๆ"
ผมไม่ได้รับปาก ไม่ได้กลัวหรอก เพียงแต่ กำลังนึกว่ามีอะไรที่อยากทำอีก นอกจากการนอนเฉยๆอยู่กับห้อง ซึ่งคงจะเป็นสิ่งสุดท้ายที่จะทำ

--------------------------------------------

ผมลุกไปล้างหน้าล้างตา เดินออกไปตลาดที่อยู่ไม่ไกลกันนัก บนทางเท้าเต็มไปด้วยร่องรอยของความบ้าระห่ำ
'แป้ง แป้ง แป้ง และขี้หมา'
ถนนยังคงโล่งอยู่
ตลาดยังมีของขายอยู่ แม้ว่าจะเป็นวันจันทร์ และยังเป็นวันหยุดยาวอยู่ อาหารทุกอย่างยังเหมือนเดิม ใช้เวลาเดินอยู่สักพัก ก็มาจบที่ร้านข้าวมันไก่ เพิ่งสังเกตว่าราคาขึ้นไปอีก 5 บาท เอาเถอะเดี๋ยวนี้อะไรมันก็แพงขึ้น คงต้องช่วยๆกันแบก



---------------------------------------------



สมัยเด็กๆ ทุกสงกรานต์แม่จะพาผมกับพี่สาวไปเยี่ยมตา ยาย อย่างน้อยก็เดือนนึง ถ้าไม่ได้ไปไหนก็จะนั่งๆนอนๆอยู่บ้าน แต่พักหลังๆตั้งแต่เรียนจบและได้งานทำในกรุงเทพฯ การกลับไปเยี่ยมบ้านก็เหลือแค่ปีละครั้งสองครั้ง

หน้าที่ตอนกลับบ้านคือ พาแม่ไปจ่ายตลาด ช่วยแม่ทำกับข้าว นอน



---------------------------------------------



แม่เคยบอกหลายครั้งว่าน่าจะกลับมาทำงานที่บ้าน แต่ผมก็บ่ายเบี่ยงด้วยเหตุผลต่างๆนานา

ทั้ๆที่รู้ว่าจริงๆแล้วว่ามีอะไรบางอย่างอยู่ในคำพูดของแม่



---------------------------------------------



นั่งดูทีวี วันนี้เป็นวันครอบครัว



---------------------------------------------



คิดถึงบ้านจัง

ละครเวทีที่อยากดู (ต่อ)


The Mind Game

Performed in English with Thai and Japanese subtitle
Director: Pannatat (ปัณณทัต)
Actors: Pavinee (ภาวิณี) Keerati (กีรติ)


วันแสดง: ศุกร์ 30 พฤษภาคม - อาทิตย์ 1 มิถุนายน 2551
รอบแสดง: ศุกร์ รอบ 19.30 น. เสาร์ อาทิตย์ รอบ 14.00 น. และ 19.30 น.
ราคาบัตร: 250 บาททุกที่นั่ง (นักเรียน,นักศึกษา 200 บาท)

สถานที่แสดง: Crescent Moon Space สถาบันปรีดี สุขุมวิท 55 (ระหว่าง ซ.ทองหล่อ 1 และ 3)

จองบัตร:

Date: May 30 - June 1, 2008.
Venue: Crescent Moon Space. Sukhumvit 55 (Thong Lor)(Between Soi Thong Lor 1 & 3)
Time: Fri @ 7:30 pm.Sat Sun @ 2:00 pm. & 7:30 pm.
Price: Public @ Bht. 250 Student @ Bht. 200.Reservation: Check back soon.



If we could start our life all over again, we know exactly what we would do differently."


New Theatre Society เสนอ เกมโชว์อัจฉริยะภาพแห่งเวทีละคร ที่สามารถพาเราย้อนไปแก้อดีตของ...


กฤษณะ พันธุ์เพ็ง, นพพันธุ์ บุญใหญ่, สุเกมส์ กาญจนกันติกุล


ในผลงานละครสุขนาฏกรรมแนวใหม่โดย ดำเกิง ฐิตะปิยะศักดิ์


"ผ่าผิวน้ำ"Breaking the Surface


เค้าโครงเรื่องจากอัตชีวประวัติของ Greg Louganis นักกระโดดน้ำโอลิมปิกและบทละคร Biography: A Game ฉบับปี 1984 โดย Max Frisch แปลจากภาษาเยอรมันโดย เจนจิรา เสรีโยธิน และ ปานรัตน กริชชาญชัย


ร่วมด้วยเกรียงไกร ฟูเกษม, ปานรัตน กริชชาญชัย, ศุภฤกษ์ เสถียร, สาธิกา โภคทรัพย์, ณัฐกานต์ ภู่เจริญศิลป์, ช่อลดา สุริยะโยธิน

13-25 พฤษภาคม 2551เวลา 19.30 น. แสดงทุกคืน เว้นคืนวันจันทร์
ณ Crescent Moon Space สถาบันปรีดี พนมยงค์
จองบัตรได้แล้ววันนี้ที่โทร 086 787 7155 และ 089 600 2295


รับผู้ชมจำนวนจำกัด เพียง 30 คนต่อรอบ เท่านั้น!
อ่านบทความเกี่ยวกับละครเรื่องนี้ได้ใน http://damkerng.multiply.com/


http://crescentmoontheatre.com/

Have a bad day

ไปเล่นสงกรานต์ที่ข้าวสารมาครับ แต่วันนี้รู้สึกว่าจะไม่ใช่วันของเราจริงๆเนื่องเกิดเหตุการณ์เสื่ยงตาย 3 อย่าง

1.ขณะที่กำลังเดินอยู่บริเวณหน้าวัดชนะสงคราม อยู่ดีๆ ฝูงชนนับพันพร้อมใจกันถอยหลังทำให้เราที่อยู่ตรงกลางโดนอัดติดกับคนที่กำลังเดินมา หลังจากนั้นทุกคนก็วิ่งกันอย่างไม่คิดชีวิต ปรากฏว่าสิ่งที่เค้าวิ่งหนีคือมีคนกำลังชกต่อยกันอย่างดุเดือด ในใจก็คิดว่าถ้าโดนเหยียบตายก็คงไม่แปลก

2.พอเข้าไปได้แล้วก็เกิดเหตุการณ์คล้ายๆกันอีก แต่ครั้งนี้เกิดจากมีคอนเสิร์ต โจอี้บอย ทางเดินปกติจึงเดินไม่ได้ ต้องไปเดินบนทางเท้าแคบๆ ปรากฏว่าไปติดอยู่กลางฝูงชนโดยที่ต่างฝ่ายต่างต้องการจะเดินทำให้เกิดการดันกันไปมา ติดอยู่ประมาณ 5นาที ออกมาได้ ก็พบว่ามีคนเป็นลมเกือบ 10 คน

3. ขณะที่กำลังเดินกลับ เกิดเหตุชกต่อยกันอีกน่าจะห่างจากเราประมาณ 50 เมตร แต่ว่ามีทั้งขวดเหล้า เบียร์ ลอยว่อน+แตก เลยต้องวิ่งหลบเข้าซอยเพื่อความปลอดภัย
***นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า ไม่เมา-->ไม่ขับ-->ไม่แน่ว่าจะรอด

ข่าวร้ายอีกอย่างเกิดขึ้นเมี่อกลับมาเช็คเมล์
http://www.pantip.com/cafe/chalermkrung/topic/C6505855/C6505855.html

เศร้าจริงๆ

Saturday, April 12, 2008

สวรรค์เบี่ยง

LOVE IS MANY SPLENDID THINGS

Love is waiting

Love in the time of cholera ( Mike Newell, USA, 2007), A-/B+


Love is rehabition

Happiness ( Hur Jin-Ho, Korea, 2007), A+/A


Love is faith

อรหันต์ ซัมเมอร์ (Summer Course), (ภวัต พนังคศิริ, 2551), A-/B+


Love is weird

Myths & Monstrosities Exhibition by Peggy Wauters , A+


















http://www.100tonsongallery.com/



Love is simplicity


The Way of Lanna Artist : 4th Progression Lifestyle and Environmental Elements By Pornchai Jaima, A+/A





http://www.galerienbangkok.com/drupal/?q=node/15

Friday, April 4, 2008

The long road home


this content taken from RealTime section in Bangkok Post- Friday, April 4, 2008
www.bangkokpost.com/Realtime/04Apr2008_real001.php

KONG RITHDEE


Local audiences will finally get a chance to see one of the most controversial Thai movies of recent times - albeit a censored version



After a year-long row that began as a censorship controversy but developed into a heated debate of vast social, intellectual, moral and political dimensions, filmmaker Apichatpong Weerasethakul will finally release his movie Saeng Satawat (Syndromes and a Century) here in Thailand on April 10.

It won't be the full, original version, however. Instead, audiences will be able to see an "exclusive Thailand edition," meaning the film will be censored, with contentious images blacked out. These black holes, which suck in consciousness and discharge subversive symbolism, will mask the six scenes that fell foul of the censors, appearing as scratched or black frames with no sound.

The film will be shown twice a day at Paragon Cineplex for two weeks, starting next Thursday. With every ticket purchased, the audience will receive a limited edition set of postcards bearing still photos of the censored scenes.

Along with the surprise release of this highly-praised Thai movie, which is as fascinating for its odd style as the ruckus that has built up around it, the Thai Film Foundation will organise an exhibition entitled "History of Thai Censorhip" in the theatre hall. Partly a chronicle of Saeng Satawat's turbulent journey from its world premiere in Venice in September 2006 to the release of the cut version in its homeland 19 months later (see box), the exhibit will also trace the history of movie censorship in Thailand and its connection to the country's politics since the time of King Rama VII.

"I would like the public to become aware of the problem of censorship and to stimulate a discussion in society," says Apichatpong. "Even though the Film Act of 1930 has been replaced by a new one, passed last December, the new law, which introduced a rating system, still permits censorship and the provision to ban a movie. That is not an improvement to people's freedom of expression."

Apichatpong submitted Saeng Satawat to the censorship committee last April and was ordered to remove four scenes. When he refused and cancelled plans to release the film, hoping that the matter would end at that, the censors, chaired by the police, detained the 35mm print of the film on the grounds that the director might secretly show it. (He could do that with other prints anyway, or on DVD. And the problematic scenes were quickly available on YouTube.) After months of campaigning against censorship, which drew wide, at times passionate support from other directors, artists, viewers and media activists, Apichatpong decided to appeal to the board this March, and was ordered to cut two more scenes in addition.

Instead of taking out the six shots, as most movies do when ordered to cut, the filmmaker will attempt to turn this "decree of amputation," as he calls it, into a form of dissident art. At the points where the six "inappropriate images" are supposed to be, Apichatpong will either leave black or scratched frames for the entire length of each shot. The shortest one lasts a few seconds and longest seven minutes.

"I'd like the audience to feel that they're forced to be in the dark, while the scratches signify an agent of destruction," he says. "If censorship is still with us, then maybe this is how we should watch the movies."

The censors' reasoning is that the film shows inappropriate pictures that might harm the integrity of Thai monks and the medical profession, especially during a scene in which doctors are shown drinking whisky.

Chalida Uabumrungjit of Thai Film Foundation, organiser of the screening and exhibition, says she's aware of the tricky process of promoting the release of this much-awaited film and at the same time informing the public that it's a censored edition.

"To show this movie in a big downtown theatre is a statement,"she says. "And I believe that to choose to watch it is also a form of statement from the viewers."In the exhibit, visitors can revisit the first incident of film censorship in pre-constitution Siam, when Amnad Mued (Dark Power) was originally banned for featuring scenes of a criminal den, but was later allowed to screen by King Rama VII.

The polarised attitudes for and against censorship, Chalida says, have been a constant since the time of the original Film Act in 1930. Back then, there was even a poster campaign condemning cinema as a "lesson on how to become a crook", with reference to crime movies of the day. But there was also the argument, as posited in a letter to a journal, that "cinema is also a lesson for policemen - on how to catch a crook."

"It's not so much different from today's situation," says Chalida. "I think the practice of censorship can be tied to the political temperature at any given period. During the Cold War, we refused to screen films from China, and a Thai political film like Tong Pan was banned following the 1976 uprising.

"Also interesting is the inconsistency of the 'judgements': for example, films boldly advertised as soft-core pornography were not banned in the late 1970s, though we can be certain that such films would never pass the censors today."

As the pro-censorship camp plays the perpetual save-our-children card, the no-cut-no-ban side maintains the constitutional right of freedom of expression. "The problem is that some people still believe that they actually have better judgement than the rest of the nation, that they are upholding ultimate righteousness," says Chalida. "Democracy is not only about the majority, but also about accommodating the minority. We're not asking for anything more than a little space for non-mainstream culture to exist. What we do is not a crime."

-------------


Cut and thrust

September 2006: Saeng Satawat premieres at the Venice International Film Festival.

December 2006: The film is voted the top film of 2006 by Film Comment, a prestigious New York film journal.

April 2007: The film is submitted to the Thai censorship board - made up of representatives from the police, the Medical Council, a Buddhist organisation and the Culture Ministry - and they demand four scenes be removed (a monk playing a guitar; two monks playing with a radio-controlled toy; a group of doctors drinking whisky; and a doctor kissing his girlfriend and a shot of the groin area of his trousers.)

Apichatpong Weerasethakul refuses to make the cuts and agrees not to show the film in Thailand, but the police refused to return the film print. The incident is widely reported in Thailand as well as mainstream international media.

April 2007: The Free Thai Cinema Movement is jointly formed by Apichatpong, the Thai Film Foundation, Bioscope magazine and a number of artists and media activists. They gather over 5,000 signatures in an online petition to end the practice of censorship and to implement a ratings system.

June-December 2007: The Culture Ministry, led by its surveillance unit, tries to push a new Film Act through the National Legislative Assembly (NLA). The new bill contains a ratings system, but retains the right of the state to cut or ban films. The Free Thai Cinema Movement campaigns against the cut-and-ban provisions.

October 2007: A senior officer of the Culture Ministry gives an interview to Time magazine and is quoted as saying: "Nobody goes to see films by Apichatpong. Thai people want to see comedy. We like a laugh".

October 2007: The op-ed page of the Bangkok Post publishes an essay by Apichatpong titled "The folly and future of Thai cinema under military dictatorship", in which he calls for an end to censorship and respect for freedom of artistic expression.

November 2007: The Alliance Francaise in Bangkok hosts three screenings of Saeng Satawat (on DVD), free of charge. The three screenings are fully packed.

November 2007: A group of internationally renowned Thai filmmakers submit a petition to a member of the NLA at Parliament House to revise the content of the Culture Ministry-approved Film Act.

December 2007: Saeng Satawat is picked as one of the best films of 2007 by a number of Thai and foreign film publications.

December 2007: The new Film Act is passed by the NLA. It introduces the ratings system but maintains the right to cut and ban films.

March 2008: Apichatpong decides to appeal to the censorship board, which is still withholding the film print. They order two more scenes to be cut: the scenes show statues of the Princess Mother and Prince Mahidol Na Songkhla. Apichatpong lets the policemen cut the film (literally) on the spot with scissors, and reclaims the print.

April 10, 2008: The censored version of Saeng Satawat is due for release at Paragon Cineplex.

ละครเวทีในช่วงเดือน เม.ย.-พ.ค. 2551

***ก๊อปปี้มาจาก webboard bioscope http://www.bioscopemagazine.com/smf/index.php?topic=1055.msg7191#msg7191





Welcome to nothing "ทุกสิ่งทุกอย่าง เกิดขึ้นมาจากความว่างเปล่า – ความว่างเปล่าคือจุดเริ่มต้นและจุดจบของทุกสิ่งทุกอย่าง
""DON'T THINK – JUST FEEL!!" โดย นพพ้นธ์ บุญใหญ่
25, 26, 27 เมษายน 2551
ศุกร์ 19.30 เสาร์ – อาทิตย์ 14.30 และ 19.30 2, 3, 4 พฤษภาคม 2551ศุกร์ 19.30 เสาร์ – อาทิตย์ 14.30 และ 19.30
จัดแสดงที่ crescentmoon space ณ สถาบัน ปรีดี พนมยงค์ สุขุมวิท 55 ซอยทองหล่อ ราคาบัตร 300บาท นักศึกษา 250
สอบถามรายละเอียด – 086 814 1676 Email: inseadang@hotmail.com http://www.crescentmoontheatre.com/


การแสดงร่วมสมัย“GODaGARDENER” “โกดาการ์เดนเนอร์”
โดย หอศิลป์ตาดู (ในเครือยนตรกิจ กรุ๊ป) และกลุ่มบีฟลอร์ศิลปิน : ธีระวัฒน์ มุลวิไล , กลุ่มบีฟลอร์ และศิลปินรับเชิญจากประเทศออสเตรเลีย คุณเรด แคบเบจ
รอบการแสดง : วันศุกร์ที่ 2 พฤษภาคม 2551 เวลา 19.30 น. วันเสาร์, อาทิตย์ที่ 3-4 พฤษภาคม 2551 เวลา 14.00 และ 19.30 น.รวมทั้งหมด 5 รอบการแสดงราคาบัตร 300 บาท
***มี กิจกรรมเสวนาหลังการแสดงวันเสาร์ที่ 3 พฤษภาคม 2551 รอบ 14.00 น.ณ หอศิลป์ตาดู ชั้น 7 อาคารบาร์เซโลน่ามอเตอร์ ถ. เทียมร่วมมิตร(มันคือ ซอยที่มีศูนย์วัฒนธรรม / สยามนิรมิต)
For more information please see as an attachment or contact : 089- 667 9539, 02- 969 2932 or Tadu 0-2645-2461email: jaa@bfloortheatre.com, j_phantachat@yahoo.com
http://www.bfloortheatre.com/http://www.tadu.net/http://www.myspace.com/taducontemporaryart


ละครถาปัดจุฬา 2551 เกราะเพชรเจ็ดสี
แสดง16-18 และ 23-25 พ.ค. 2551เวลา 18.00 เสาร์-อาทิตย์ เพิ่มรอบ 13.30ณ หอประชุมใหญ่ จุฬา
บัตรราคา 160 200 240ขายบัตร หน้าประตูกลาง คณะถาปัด จุฬาจ-ศ 9.00-20.00 / ส-อา 9.00-18.00
เริ่มขายบัตร 7 เม.ย
.http://www.arch-armour.com/


สู่ฝันอันยิ่งใหญ่ MAN OF LA MANCHA
ผลงานละครเพลงโดย ยุทธนา มุกดาสนิท
นำแสดงโดย เจมส์ เรืองศักดิ์ ลอยชูศักดิ์, เบน ชลาทิศ, เมย์ ภัทรวรินทร์ ทิมกุล, โอ อนุชิต
แสดงทั้งหมด : 13 รอบการแสดง ตั้งแต่วันศุกร์ที่ 13 ถึงวันอาทิตย์ที่ 22 มิถุนายน 2551
สถานที่แสดง เมืองไทยรัชดาลัย เธียเตอร์
บัตรราคา 3,000 บาท 2,500 บาท2,000 บาท1,500 บาท1,000 บาท500 บาท http://www.thaiticketmajor.com/performance/lamancha.php


นาฏศิลป์ : รีไซเคิล โดย พิเชษฐ กลั่นชื่น
พฤหัสที่ 15 พฤษภาคม 2008 เวลา 19.30 น.
พิเชษฐ กลั่นชื่นเป็นชื่อที่รู้จักกันดีในฐานะของนักแสดงโขน นาฏศิลป์ชั้นสูงมรดกอันล้ำค่าของไทย ตั้งแต่อายุเพียง 16 ปี พิเชษฐได้ฝากตัวเป็นศิษย์ของอาจารย์ชัยยศ คุ้มมณี หนึ่งในพ่อครูโขนผู้เป็นที่รู้จักมากที่สุดในประเทศไทยจากความกล้าหาญในการเสนอแนวความคิดที่ไม่เหมือนใครและฝีมือการร่ายรำอันฉกาจ พิเชษฐจึงเป็นศิลปินที่ได้การยอมรับทั้งในประเทศและในระดับนานาชาติ พิเชษฐถือได้ว่าเป็นศิลปินเพียงคนเดียวที่นำเสนอการแสดงโขนซึ่งมีพื้นฐานการร่ายรำของศิลปะโขนกับการเต้นร่วมสมัย โดยยังคงไว้ซึ่งความวิจิตรบรรจงของศิลปะโขนตามแบบฉบับโบราณ ดังเช่นผลงานการแสดงที่รู้จักกันเป็นอย่างดีในระดับนานาชาติที่พิเชษฐได้ร่วมงานกับศิลปินชาวฝรั่งเศส เฌโรม เบล ในงานเทศกาลวัฒนธรรมฝรั่งเศส กรุงเทพ ในปี 2006รีไซเคิลในปีนี้พิเชษฐกลับมาแสดงที่สมาคมฝรั่งเศสอีกครั้งพร้อมกับการแสดงชุดใหม่ในชื่อ รีไชเคิล ซึ่งพิเชษฐได้สานต่อเจตนารมณ์เดิมของเขาในการเสาะหา ศึกษาและวิเคราะห์ลงไปในรายละเอียดของท่วงท่าในการร่ายรำดั้งเดิมตามแบบฉบับไทย แต่ในการแสดงครั้งนี้เขาจะนำเอาองค์ประกอบเหล่านี้มาใช้ในรูปแบบที่แตกต่างจากที่เคยเป็นมา ซึ่งงานชิ้นนี้จะเป็นการรวมเอาความเป็นพิเชษฐตั้งแต่อดีตจนถึงทุกวันนี้มาผสานเข้ากับสภาพการณ์ในปัจจุบันรีไชเคิล จึงเป็นผลงานที่พิเชษฐจะแสดงให้ผู้ชมประจักษ์ได้ถึงความจำเป็นที่มนุษย์เราจะต้องเอาประสบการณ์ ประเพณีและวัฒนธรรมต่างๆ มาปรับเข้ากับสังคมปัจจุบันเพื่อให้เกิดการเรื่องราวของการสร้างสรรค์และพัฒนา อันเป็นสิ่งที่สุดแสนจะท้าทายสำหรับมนุษย์ทุกวันนี้และในอนาคต
พฤหัสที่ 15 พฤษภาคม 2008 เวลา 19.30 น. ห้องออดิทอเรียม
สมาคมฝรั่งเศสนักเรียนและสมาชิกสมาคมฝรั่งเศส : 250 บาท / บุคคลทั่วไป : 400 บาท บัตรมีจำหน่าย ณ ห้องสมุด สมาคมฝรั่งเศส (ปิดทำการวันจันทร์)


ละครเวทีเรื่อง : : “Vagues souvenirs de l’annee de la peste”
บทประพันธ์โดย Jean-Luc Lagarce
พฤหัสบดี ที่ 22 พฤษภาคม 2551 เวลา 19.30 น.เสาร์ที่ 24 พฤษภาคม 2551 เวลา 19.30
น.แสดงโดยกลุ่ม La Troupe des Deux Mondes นักแสดงจากสมาคมฝรั่งเศสกรุงเทพ
ในยุคที่กาฬโรคจากต่างแดนได้แพร่เชื้อเข้ามาสู่เกาะอังกฤษ หลังจากหนึ่งปีที่ต้องเผชิญอยู่ท่ามกลางเชื้อโรคที่แพร่กระจาย กลุ่มผู้ที่รอดจากการติดเชื้ออันรวมไปด้วยผู้คนหลายหลากต้องหยุดการอพยพของพวกเขา ณ ป้อมปราการกรุงลอนดอนฌอง-ลุค ลาคาร์ซ (1957-1995) ผู้เขียนบทประพันธ์แนวชีวิตชาวฝรั่งเศสชื่อดังของยุคนี้ ฌอง-ลุค ลาคาร์ซ เป็นทั้งนักเขียนและผู้กำกับการแสดงในเวลาเดียวกัน เขาเป็นนักเขียนที่โดดเด่นในการเขียนบทที่มีความร่วมสมัยมาใส่ในงานละคอนเวทีแบบคลาสสิค เพื่อให้ผู้ชมได้ซึมซับผลงานได้จากลูกเล่นภาษาที่ทันสมัย ผลงานที่ประสบความสำเร็จของฌอง-ลุค ลาคาร์ซ ได้แปลและตีพิมพ์ออกมากว่า ๑๕ ภาษาโดย : Didier Del Corso, Prisca Del Corso, Jean-Luc Delvert, Lucie Delvert, Katia Grau, Alexis Viols, Nathalie Yannicกำกับการแสดงโดย : Jean-Luc Delvert
พฤหัสบดี ที่ 22 พฤษภาคม 2551 เวลา 19.30 น. ห้องออดิทอเรียม สมาคมฝรั่งเศส กรุงเทพเสาร์ที่ 24 พฤษภาคม 2551 เวลา 19.30 น. ห้องออดิทอเรียม สมาคมฝรั่งเศส กรุงเทพ
นักเรียนและสมาชิกสมาคม : 250 บาท / บุคคลทั่วไป 400 บาทบัตรมีจำหน่ายที่ห้องสมุดสมาคมฝรั่งเศส (ปิดทำการวันจันทร์)

เครือข่ายคนดูหนัง

***ข้อความข้างล่างนี้ก็อปปี้มาจาก Filmsick’s blog + bioscope webboard+celinejulie's blog

ข่าวฝากจากไบโอสโคป ครับสืบเนื่องจากการเข้าร่วมประชุมเกี่ยวกับ "กฎหมายลูก" ที่จะออกประกอบกับพรบ.ภาพยนตร์ฉบับล่าสุดในวันที่ 17 มีนาคมที่ผ่านมา ซึ่งเป็นการประชุมร่วมกับตัวแทนจากหลายหน่วยงาน ทั้งกระทรวงวัฒนธรรม(ซึ่งจะรับผิดชอบด้านการเซ็นเซอร์ และการจัดเรต) ตัวแทนเครือข่ายพ่อแม่ ตลอดจนตัวแทนของคนทำหนัง โดยเฉพาะคนทำหนังอิสระ ทาง BIOSCOPE ซึ่งเข้าร่วมประชุมด้วยพบว่า ทัศนคติหลักที่จะกำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับกฎหมาย อันจะมีผลโดยตรงต่อภาพยนตร์ในบ้านเราต่อไปนั้น ยังคงยืนอยู่บนจุดของการ "ป้องปราม" เพื่อ "ความปลอดภัยของเยาวชนและประเทศชาติ" ไม่ต่างจากที่แล้วมา แม้ฝ่ายคนทำหนังจะเรียกร้องสิทธิเสรีภาพแทนทั้งแก่คนทำหนังและผู้ชมอย่างไร ก็ยังคงถูกมองว่าเป็นการเรียกร้องเพื่อตัวเอง ("คนทำหนังก็คำนึงถึงแต่ประโยชน์ของคนทำหนัง ไม่คำนึงถึงสังคม" - - นี่คือปฏิกิริยาที่ได้รับเสมอ) ดังเดิมคำถามที่เกิดขึ้นจึงคือ แล้วใครเล่าในการประชุมนี้ (หรือไม่ว่าจะองค์ประชุมใดๆ ที่เกี่ยวกับการกำหนดกฎหมายด้านภาพยนตร์) ที่จะสามารถอ้างตัวว่า "เป็นตัวแทนของประชาชนที่เป็นคนดูหนัง" ได้อย่างแท้จริง? ในเมื่อที่ผ่านมา "คนดูหนัง" ไม่เคยมีโอกาสได้เลือกตัวแทนของตัวเอง และไม่เคยมีโอกาสแสดงความเห็นเลย โดยเฉพาะความเห็นด้านที่แตกต่างจากผู้ที่อ้างตนเป็น "ตัวแทนประชาชน" เสมอ ไม่ว่าจะภาครัฐ หรือเครือข่ายพ่อแม่ผู้ปกครองดังนั้น เราจึงเกิดความคิดว่า ถึงเวลาแล้วใช่ไหมที่คนดูหนังจะรวมตัวกันเป็นเครือข่ายบ้าง เพื่อแสดงความคิดเห็นของเราอย่างเป็นอิสระ และเสนอทัศนคติที่หลากหลายขึ้น ให้ผู้มีอำนาจนำไปพิจารณาเราจึงใคร่ขอเชิญชวน "คนดูหนัง" ทุกท่าน ร่วมกันตั้งกลุ่มขึ้น โดยเริ่มจากการเป็นกลุ่มย่อยตามจังหวัด หรือภูมิภาคใครก็ได้เริ่มประกาศตัวเป็นศูนย์กลางของเขตแดนนั้นๆ หากมีจังหวัดละกลุ่มได้น่าจะยิ่งดีแล้วลงชื่อร่วมกันอีกครั้งหลังจากนั้น จัดตั้งเป็น "เครือข่ายคนดูหนัง"โดยมีเป้าหมายที่การเสนอตัวแทนเข้าไปมีส่วนร่วมในการแสดงสิทธิเสียงภาคประชาชนอีกภาคหนึ่งในทุกการประชุมเช่นที่เกิดขึ้นในวันนี้นี่มิได้หมายความว่า เครือข่ายคนดูหนัง จะต้องมุ่งมั่นต่อต้านรัฐอย่างไม่ลืมหูลืมตาและก็มิได้หมายความว่า ความคิดเห็นของสมาชิกจะต้องพุ่งไปในทางเดียวกันเท่านั้นเราย่อมคิดเห็นต่างกันได้เช่นเดียวกับคนอื่นๆ แต่การรวมตัวเป็นเครือข่าย ก็เพื่อให้สิทธิเสียงของเราเป็นที่รับฟังจากสังคมบ้างโดยไม่ต้องมีคนกลุ่มอื่น ซึ่งมีวาระแฝงเร้นอื่น มาอ้างสิทธิแทนเราเสมอไปดังที่เป็นมาตลอดเพื่อนๆ ท่านใดสนใจแนวคิดนี้ กรุณาอีเมล์บอกชื่อ นามสกุล ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้ (เผื่อมีการส่งเอกสารใดๆ ทางไปรษณีย์)มาที่ mailto:editor@bioscopemagazine.com ด้วยนะคะเราจะรวบรวมรายชื่อ และจัดหมวดหมู่ตามจังหวัดที่ท่านอยู่อาศัย (เอาเป็นที่ที่อาศัยและติดต่อได้ในปัจจุบันนะคะ)แล้วนำมาอัพเดทบนเว็บบอร์ดนี้เป็นระยะๆ(เหตุผลที่เราใช้วิธีจัดกลุ่มตามจังหวัด เพื่อแสดงให้เห็นชัดว่า สมาชิกเครือข่ายมีมาอย่างหลากหลายค่ะ)ขอบคุณมากๆ ค่ะอนึ่ง BIOSCOPE ไม่ได้ปรารถนาจะตั้งตัวเป็นแกนนำ หรือทำตัวเป็นตัวแทนของคนดูหนังซะเองนะคะแต่ในฐานะสื่อ โดยเฉพาะเป็นสื่อที่เกี่ยวข้องอยู่กับหนัง เราคิดว่านี่เป็นหน้าที่หนึ่งของสื่อที่พึงกระทำคือเปิดพื้นที่ ให้เสียงของภาคประชาชนได้เปล่งกลับไปสู่บรรดาผู้มีอำนาจบ้างค่ะ

http://http://www.bioscopemagazine.com/smf/index.php?topic=1015.0

Say- John Mayer

Thursday, April 3, 2008

A time to kill

Killed by Greed
AWAKE ( Joby Harold, USA, 2007) , A/A-


Killed by Art
PIG'S EYE (Sculptural Installation & Video by TUKSINA PIPITKUL @ CONFERENCE OF BIRDS GALLERY) , A+


Killed by Devil & Revenge
ลองของ 2 ( ART OF THE DEVIL 3) (พาสิทธิ์ บูรณะจันทร์ ,2551) ,A+/A

Killed by Arrogant
VANTAGE POINT (Pete Travis, USA, 2008), A+/A

Killed by Guilty Pleasure
ALWAYS 2 : Sunset on the third street (Takashi Yamazaki, Japan, 2007), A+

Tuesday, April 1, 2008

My second hand book fair

หนังสือที่ได้ซื้อจากงานสัปดาห์หนังสือ(ลดราคา)แห่งชาติ

L'AMANT (แรกรัก) by Marguerite Duras แปลโดย อินทิรา (สนพ.สมิต,พิมพ์ครั้งที่ 4 กุมภาพันธ์2538)

MOTHER (แม่) by Milan Kundera แปลโดย ภัควดี วีระภาสพงษ์ (สนพ.กล้วยไม้, พิมพ์ครั้งแรก พฤศจิกายน 2537)

INNOCENT ERENDIRA (เอเรนดิราผู้บริสุทธิ์) by Gabriel Garcia Marquez แปลโดย กำพล นิรวรรณ (สนพ.สมิต, พิมพ์ครั้งที่ 2 เมษายน 2538)

NO ONE WRITES TO THE COLONEL (ไม่มีใครเขียนจดหมายถึงนายพัน) by Gabriel Garcia Marquez แปลโดย พัชรินทร์ (สนพ.ยาดอง)

STORY OF A SHIPWRECKED SAILOR (ตำนานวีรบุรุษ) by Gabriel Garcia Marquez แปลโดย พัชรินทร์ (สนพ.ยาดอง)

CHRONICLE OF A DEATH FORETOLD (หมายเหตุฆาตกรรม) by Gabriel Garcia Marquez แปลโดย พัชรินทร์ (สนพ.ยาดอง)

DON'T LOOK NOW (หลอน) by Daphne du Maurier แปลโดย ศิริวรรณ บัณฑิต (สนพ.ดวงกมล, พิมพ์ครั้งแรก กรกฎาคม 2523)

VERONIKA DECIDES TO DIE (เวรอนิกาขอตาย) by Paulo Coelho แปลโดย ธนพรรณ สิทธิสุนทร (สนพ.คบไฟ, พิมพ์ครั้งแรก กุมภาพันธ์ 2544)

SOPHIE'S WORLD (โลกของโซฟี) by Jostein Gaarder แปลโดย สายพิณ ศุพุทธมงคล (สนพ.คบไฟ, พิมพ์ครั้งที่ 6 พฤษภาคม 2544)

Monday, March 31, 2008

แสงศตวรรษ ฉบับเซ็นเซอร์

เจ้ย ตัดสินใจยอมฉาย แสงศตวรรษ ฉบับเซ็นเซอร์

หลังจากเป็นเรื่องถกเถียงมากกว่าหนึ่งปีเต็ม ในที่สุด เจ้ย อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล ผู้กำกับมือรางวัลจากนานาชาติ ก็ตัดสินใจนำภาพยนตร์เรื่องแสงศตวรรษ ผลงานที่ติดอันดับภาพยนตร์ยอดเยี่ยมจากหลายโพลทั่วโลกเมื่อปีที่แล้ว เข้ารับการตรวจพิจารณาจากคณะกรรมการตรวจพิจารณาภาพยนตร์อีกครั้ง ซึ่งผลปรากฏว่า จากเดิมที่คณะกรรมการฯ มีคำสั่งให้ตัดฉาก 4 ฉาก ออกจากภาพยนตร์ คราวนี้ ทางคณะกรรมการฯ สั่งให้ตัดเพิ่มอีก 2 ฉาก ซึ่งทางคุณอภิชาติพงศ์ก็รับมติคณะกรรมการฯ ที่ให้ตัดฉากทั้ง 6 ฉากออกจากภาพยนตร์ และจะใส่ฟิล์มดำที่มีรอยขูดขีดแทนในฉากที่หายไป โดยภาพยนตร์แสงศตวรรษ เวอร์ชั่นที่หาชมได้ที่ประเทศไทยที่เดียวเท่านั้น หรือ Thailand’s edition จะเริ่มฉายวันพฤหัสบดีที่ 10 เม.ย. นี้ ณ โรงภาพยนตร์สยามพารากอน แห่งเดียว และ ผู้ซื้อตั๋วจะได้รับโปสการ์ดพิเศษ Collector’s item นอกจากนี้ บริเวณหน้าโรงภาพยนตร์จะมีการจัดบอร์ดนิทรรศการการเดินทางของภาพยนตร์เรื่อง “แสงศตวรรษ” และขั้นตอนการพิจารณาภาพยนตร์ในประเทศไทย โดยรายได้ทั้งหมดหลังหักค่าใช้จ่ายมอบให้มูลนิธิหนังไทยฯ เพื่อการต่อสู้เพื่อเสรีภาพของผู้สร้างและผู้ชมภาพยนตร์ในประเทศไทย ต่อไป งานนี้ผู้ที่สนใจร่วมชมและรับรู้อรรถรสในการดูหนังแบบพิเศษห้ามพลาด และสามารถติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://www.thaifilm.com/ และเช็ครอบฉายได้ที่ โรงภาพยนตร์สยามพารากอน

Sunday, March 30, 2008

BEFF 2008



สถานีสับราง (TRACK CHANGES)

บพิตร วิเศษน้อย (TH) 19.09.2549 ,2008 (A-)

นวพล ธำรงรัตนฤทธิ์ (TH) Bangkok Tanks, 2007 (A+)

วาทิต วัฒนสกลพันธุ์ (TH) In the Night of Revolution,2007 (A-)

ไมเคิล เชาวนาศัย (TH) Observation of the Monument,2008 (A+)

ปราบต์ บุนปาน(TH) Letters from the Silence,2007 (A+)

ประทีป สุธาทองไทย (TH) อธิบายคำว่าไทย,2007 (A-)

นฆ ปักษนาวิน (TH) Burmese man dancing,2008 (A)

Ricardo Nascimento (Austria) AUTRMX,2008 (A)

Tintin Cooper (TH) Promethean Invention,2008 (A-)

จักรวาล นิลธำรงค์ (TH) Man with a video Camera,2007 (A)


FLUID DYNAMICS
วารีระรื่น (WAREE RA-RUEN / WATERWORKS)





Kevin Evensen (USA) Wind Water Stone, 2006 (A-)







Emma Bowen (Scotland) H2O, 2007 (A-)

Gjert Rognli (Norway) Behind The Silverwidths, 2006 (A-)

Uma Beecroft (Netherlands) Riyaz Master Project (Trailer), 2007 (B+)

อดิศักดิ์ ภูผา (TH) In Between Living and Dying, 2007 (A+/A)







Anders Weberg (Sweden) For Sore Eyes, 2006 (A-)

วินัย กิจเจริญ (TH) New Year Again, 2008 (A+)

วิชชุตา วัจนะรัตน์ (TH) ปลา, 2008 (A)

โสรยา นาคะสุวรรณ (TH) 2008, 2008 (A+/A)

พิเชษ เสมอเชื้อ (TH) Bangkok Beauty, 2008 (B+)








สื่อดัดแปลง (TEST PATTERNS)







จุฬญาณนนท์ ศิริผล (TH) วัตถุทรงกลม, 2007 (A)

Soda_Jerk (Dan & Dominique Angeloro) (Australia) Astro Black: A History of Hip Hop (Episode 1), 2007 (A-/B+)







นนทวัฒน์ นำเบญจพล (TH) Atomica, 2006 (A-)

Daniel Rodrigo (UK) Fashion Death, 2007 (A-)

นวกานต์ ราชานาค (TH) Thaumatrope, 2006 (A+/A)

Christopher Fulham (Australia) Runners, 2006 (A)

Jesse La Flair (USA) Finding Himself in A Thaumatrope, 2007 (A)

Louis Marlborough & Olive Barrett (Ire) Beat, 2007 (A)







อาภาพรรณ ปลั่งสิริสุนทร (TH) Repeating Dramatic, 2008 (A+)

Stuart Pound (UK) Dominant Culture, 2008 (A+)







Angelo Picozzi (UK) 00:06:03:08, 2006 (A-/B+)













มหรสพมวลชน (VARIETY THEATRE)







Jun'ichiro Ishii (France) Promenade, 2007 (A+/A)

Steve Reinke (USA) Hobbit love is the greatest love, 2007 (A-)

Andrew Kotting (UK) Offshore, 2007 (A+/A)

Vincent Meessen (Belgium) A Broken Rule, 2007 (A)

Tan Pin Pin (Singapore) Singapore Gaga, 2007 (A+)







VIDEO GROUND
Recent work from Australia and Aotearoa/New Zealand







Peter Alwast (AUS) At the Rotunda, 2007 (A)

Stella Brennan (Aotearoa / NZ) South Pacific, 2007 (A)

Rachel Rakena (Aotearoa / NZ) Pacific Washup,2003 (A+)

Merilyn Fairskye (AUS) Connected, 2002-06 (A-/B+)

Vernon Ah Kee (AUS) Whitefellanormal, 2002 (A-/B+)

John Gillies (AUS) Divide,2006 (A-)















INTRODUCING BERLIN I







Clemens von Wedemeyer & Maya Schweizer, Rien Du Tout (A+/A)

Corinna Schnitt, Living a Beautiful Life (A+)

Keren Cytter, Something Happened (A+++) http://www.artnet.com/galleries/Exhibitions.asp?gid=423977695&cid=119376











Koken Ergün, I,Soldier (A+)

Amy Patton, Chronicle of a Demise (A+)

Gunter Krüger, Drama Strings and Horn (A+)Jay Chung, Q Takeki Maeda & Nina Konnemann, Artxandra (A-)


INTRODUCING BERLIN II

Sharyar Nashat, Modern Body Comedy (B+)

Maya Schweizer, Passing Down, Frame 1 (B+/A-)

Björn Melhus, The Oral Thing (A-)

Antje Majewski, No School Today (A+)

Karo Goldt, Falcon (A-)

Sylvia Schedelbauer, Remote Intimacy (A-)

Clemens von Wedemeyer & Maya Schweizer, Metropolis (Report from China) (A+/A)







EXPERIMENTAL DOCUMENTARY

Phillip Scheffner, The Halfmoon Files (To be shown on 05/04/2008 @ 5 pm. at William Warren Library - Jim Thompson House)

Johanna Domke, Crossing Fields (A-)


DOCO-LOCO

IF THESE WALLS COULD TALK …

Terry Berkowwitz/Varsha Nair/Karla Sachse, Barriers and beyond, 2007 (A-)

Chris Henschke (AUS) Ayutthaya Aniccha, 2007 (B+)

Peter Krupa (Slovakia) Velikij Vam Privit, 2007 (A+)

Thilo Froebel (Germany) Barricade, 2007 (B+/A-)

John Smith (UK) Dirty Pictures, 2007 (A-)

Yael Luttwak (UK) A Slim Peace, 2007 (A+) http://www.aslimpeace.com/






LOCAL LOOP: Emerging histories from the Philippines

Angel Shaw (USA) The Momentary Enemy, 2008 (A-)

Sally Jo Bellosillo (Philippines) Laban: the meaning of the EDSA revolution, 2007 (A+)

http://www.labanmovie.com/







SPECIAL PROGRAM



A Crime Against Art by Hila Peleg (Madrid/ Berlin, 2007) (A)




Monday, February 18, 2008

A day in life

S-Express Malaysia

Pool (Chris Chong Chan Fui Malaysia, 2007, 14 Min.) A-
Qalam (Hadi Koh Malaysia, 2007, 10 Min.) A/A-
Westbound (Kubhaer T. Jethwani Malaysia, 2007, 19 Min.) A+
A Day in the Life (Syed Omar Malaysia, 2007, 12 Min.) A
Tuli ( Auraeus Solito Philippines, 2006, 107 Min.) A+

Birth of the Seanema (Sasithorn Ariyavicha Thailand, 2004, 70 Min.) A+++++

S-Express Taiwan

Shopping Cart (Boy Hou Chi-Jan Taiwan, 2007, 21 Min.) A
Street Survivor (Lin Jing-Jie Taiwan, 2007, 20 Min.) A
Waterfront Villa Bonita (Lou Yi-An Taiwan, 2007, 24 Min.) A
The Last Communist (Amir Muhammad Malaysia, 2006, 90 Min.) A

A Short Film About the Indio Nacional (Raya Martin, Philippines, 2006, 96 Min.) A++

L'erotisme -experimental erotic short films

Ritualis (Pat Tremblay ,Canada, 2004, 8 minutes) A+
Maldoror: A Pact With Prostitution (Micki Pellerano et Nate Arche,É-U, 2005, 9 minutes) A+
Ass (Usama Alshaibi, É-U, 2001, 9 minutes) A++
KI (Karl Lemieux, Canada, 2001, 3 minutes) A/A+
La Fin de Notre Amour (Hélène Cattet et Bruno Forzani ,Belgique, 2003, 9 minutes) A/A+
Extase de chair brisée (Pierre-Luc Vaillancourt et Frédérick Maheux,Canada, 2005, 16 minutes) A++
Baby Doll (Serge de Cotret Canada, 2006, 3 minutes) A+++
The Loneliest Little Boy in the World (Mike Dereniewski,É-U, 2000, 5 minutes) A++
Paranoid (Anne HanavanÉ-U, 2005, 3 minutes) A+
D'Yeux (Monk Boucher,Canada, 2002-2007, 13 minutes) A/A+
Imperatrix Cornicula (Jérôme Bertrand,Canada, 2007, 10 minutes) A++

Sunday, February 17, 2008


2008 : VERY SHORT NEW YEAR CINE-BRATION



  • Still : ณัฎฐ์ธร กังวานไกล (A/A-)

  • Goodbye , 2008 : ญาณิน พงศ์สุวรรณ (A)

  • UNIFIED FIELD : จักรวาล นิลธำรงค์ (A+)

  • New Year Again : วินัย กิจเจริญ 2008 (A+)

  • ย้อนกลับ (Reverse) : นภสร ลิ้มไชยาวัฒน์ (A/A-)

  • 2008...ปีร่ำรวย หรือ ห่วยแตก: เปรมปพัทธ ผลิตผลการพิมพ์ (A)

  • ตาล : วรรณแวว และ แวววรรณ หงษ์วิวัฒน์ (A+)

  • Up and Down 2551 : ศิวโรจณ์ คงสกุล (A/A-)

  • หากเป็นเมื่อก่อน เขาคงเรียกสิ่งนี้ว่าความรัก ( If it was then, He would call this thing love) : พัลลภ ฮอหรินทร์ (A+/A)

  • เวลากับความทรงจำและสิ่งที่ฉันทำเพื่อเธอ(Timeless memory and everything I've done for you) :ธัญญ์วาริน สุขะพิสิษฐ์ (A)

  • เรื่องของสยามในปีก่อนๆและปีหน้า : ภาส พัฒนกำจร( A/A-)

  • ยาม เย็น (ANOTHER EVENING OF THE THIRD ) : วิวัฒน์ เลิศวิวัฒน์วงศา ( FILMSICK) (A)

  • A Conversation with a whore about a whore : พัฒนะ จิรวงศ์ (A)

  • หมา ดิบ ดิบ (Amee Amigo) : ฐิติมน และ ณิชมน มงคลสวัสดิ์ (A)

  • HOPE : ศิวดล ระถี (A+)

  • 2008 , Let’s come out : ธนพล เชาวน์วานิชย์ (A)

  • ‘เราจักอุตริเพียรตั้งชื่อหนังเรื่องนี้ให้ยากเข้าไว้ว่า200ooPs!’ : เกรียงไกร วชิรธรรมพร (A+/A)

  • Time still destroys everything you touch : คันฉัตร รังษีกาญจน์ส่อง (A)

  • 2008 : โสรยา นาคะสุวรรณ (A+/A)

  • Silent Light : ภาณุ อารี (A+/A)

  • ...ออกเสียงไม่ได้ในจักรวรรดิทางภาษาของคุณ (...unpronouncable in the linguistic imperialism of yours) : รัชฏ์ภูมิ บุญบัญชาโชค (A+/A)

  • ยีราฟ : นวพล ธำรงรัตนฤทธิ์ (A+/A)

  • หวามลมเหงา ( One more night stand ) : ชาคร ไชยปรีชา (A/A-)

  • วัฒนธรรมชาติ (Culture and Nature) : ปราบต์ บุนปาน (A+)

  • รอยไถแปร : อุรุพงศ์ รักษาสัตย์ (A)

  • A Little Bliss : ธีพิสิฐ มหานีรานนท์ (A)

  • ข่าวกีฬา : พวกเหี้ยกำลังจะไป พวกสัมพะเวสีกำลังจะมา : มานัสศักดิ์ ดอกไม้ (A+)

  • อ้อยมาสาย 3 นาที ( Oy is 3 minutes late) : ธีปนันท์ เพ็ชร์ศรี (A)

  • 2008 : ตุลพบ แสนเจริญ (A)